ins class="adsbygoogle" style="display:block; text-align:center;">
ในการปฏิบัติงานสาธารณภัยโควิด 19 เมื่อ อปท.จัดทำโครงการ และจัดทำคำสั่งสั่งใช้ อปพร.ในการปฏิบัติหน้าที่ด้านสาธารณภัย อปท.ก็สามารถเบิกจ่ายค่าตอบแทนให้แก่ อปพร. รวมทั้ง กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน โดยมีแนวทางในการเบิกจ่าย ดังนี้
ความรุนแรงของสาธารณภัยโควิด 19 ในปี 2564 หากมองในเชิงกายภาพหรือในเชิงภูมิรัฐศาสตร์ได้ทำให้สังคมไทยได้มี 2 โลกในพื้นที่กายภาพเดียวกัน ในช่วงเวลาเดียวกัน คือ
จากงานเขียนของ Acemoglu และ Robinson ในหนังสือชื่อ Why Nation Fail ยืนยันว่าประเทศที่ใช้นโยบายขูดรีดและกีดกั้น ที่สร้างความได้เปรียบให้กับกลุ่มผู้ครองอำนาจและกีดกันประชาชนจากการมีส่วนร่วมในกระบวนการทางการเมือง
หน่วยงานภาครัฐต้องมีแนวทางการดำเนินงานเพื่อปกป้องผลประโยชน์ของส่วนรวมหรืออรรถประโยชน์ของสังคม ไม่ยกเว้นแม่แต่หน่วยงานเก็บภาษี (แตในปัจจุบันมีข้อกำหนดหละหลวมมีการขอคืนภาษีหลีกเลี่ยงภาษีหลายร้อยล้านบาทต่อปีเป็นจำนวนมาก http://www.yas.co.th/newsdetail.php?id=57 )
การดำเนินการจัดตั้งศูนย์พักพิงชั่วคราวหรือศูนย์พักคอยรอการส่งตัวเข้ารับการรักษาพยาบาลในโรงพยาบาล เพื่อรองรับผู้อพยพออกจากพื้นที่ประสบภัย หรือรองรับผู้ป่วยจากโรคระบาดที่ผ่านการคัดกรองสอบสวนโรคแล้ว พบว่าติดเชื้อระบาดแต่ยังไม่มีอาการป่วยรุนแรง มีแนวทางในการบริหารจัดการศูนย์ ดังต่อไปนี้
การเลือกประเภทวัสดุที่ใช้ดับเพลิง
การเลือกใช้ประเภทวัสดุที่ใช้ดับเพลิงนั้น เริ่มมีความสำคัญเพิ่มมากขึ้นในกลางศตวรรษที่ 19 เนื่องจากมนุษย์มีความสามารถผลิตวัสดุใหม่ๆ ขึ้นมาใช้เพิ่มขึ้นจากวัสดุที่คุ้นเคยในอดีต ได้แก่ ไม้ และผ้า ปัจจุบันเรามีวัสดุหลากหลายประเภทในชีวิตประจำวัน ทั้งผู้คนในเมืองและในชนบท ดังนั้นหากเกิดการลุกไหม้ของวัสดุดังกล่าวมา เราจะไม่สามารถใช้น้ำในการดับการลุกไหม้ของผ้าและไม้ได้
โควิด-19 กับอำนาจในสังคม
ในห้วงปี 2563-2564 ประเทศไทยได้อยู่ในห้วงการเปลี่ยนผ่านทางแนวความคิดเกี่ยวกับความหลากหลายของวัฒนธรรมสุขภาพจากการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรน่า 2019 (Covid -19) ที่วาทกรรมแห่งอำนาจไม่ว่าจะมาจากระเบียบการปกครองเผด็จการและมาจากวิทยาศาสตร์การแพทย์สมัยใหม่ที่เลือกเฟ้นประเด็นต่อการรับใช้เผด็จการ ได้พยายามกดทับปรากฏการณ์ดิ้นรนต่อสู้กับการแพร่ระบาดของประชาชนชาวไทย โควิด-19 กับอำนาจในสังคม ปรากฏให้เห็นได้ ดังนี้
การต่อสู้กับองค์กรปรสิตเมื่อเข้าใจความนึกคิดหรือสันดานของพวกอีลิทในสังคม
ไม่น่าเชื่อว่าประเทศไทยยามที่ต้องเผชิญหับความทุกข์ยากเดือดร้อน ยังต้องมาเผชิญกับองค์กรปรสิต ซึ่งหากอยู่ในสภาวะปกติ การมองเห็นการกดขี่ การไร้ซึ่งความเห็นอกเห็นใจที่จะให้ร่วมการปกครอง เป็นเรื่องที่ยากที่จะทำให้ประชาชนเข้าใจความนึกคิดหรือสันดานของพวกอีลิทในสังคมไทย http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1365074628& จากความเดือดร้อนของประชาชนคนไทย จาก 2 กรณีใหญ่ๆ คือ
การจัดระบบการรักษาพยาบาลในภาวะวิกฤต : กรณีการเผชิญการแพร่ระบาดของโรคระบาด
ในเดือนมิถุนายน - กันยายน 2564 ประเทศไทยเผชิญสถานการณ์วิกฤตจากการแพร่ระบาดไวรัสโคโรน่า 2019 ระบบสาธารณสุขปกติไม่สามารถตอบสนองต่อความต้องการการรักษาพยาบาลได้ รัฐบาลทหารเฒ่าก้นกุฏิจากเขาสามร้อยยอด (ตูดปอดยอดขุนพล ประกาศก้าวกลางศพประชาชนที่ล้มตายวันละ 150-200 ราย "จะไม่ทิ้งประชาชน เราจะชนะไปพร้อมๆ กัน") กลับบริหารจัดการไม่ให้ตัวเลขคนที่จะเข้าโรงพยาบาลน้อยลง จนบางแห่งไม่รับตรวจหาเชื้อไวรัสในร่างกายเอาดื้อๆ ผู้ป่วยแม้การโทรเข้าระบบสาธารณสุขก็ต้องรอเตียงนอกโรงพยาบาลวันละ 1, 000 - 2,000 รายต่อวัน
การสื่อสารในภาวะวิกฤตยุคใหม่ (New normal) : การขัดเกลาทางสังคม
ในห้วงกระแส "ความจริง = "FAKE NEWS"" ที่ฝ่ายผู้สนับสนุนรัฐบาลทหารเฒ่าที่เติบโตมาจากก้นกุฏิ และข้าราชการตัวพ่อตัวแม่ในพรรคราชการได้มุ่งที่จะรักษาความสมเหตุสมผลในการคงอยู่ของตน ในสภาวะที่ประชาชนที่มีการสื่อสารทางโซเซียลมีเดียต่างพากันมีความเห็นว่า "ไม่มึความชอบธรรมที่จะอยู่เป็นปรสิตได้อีกต่อไปแล้ว" อีกทั้ง ข่าวจริงข่าวปลอมนั้น ในภาวะวิกฤตยุคใหม่ ทำนองเดียวกับประเด็นข่างจริงข่าวปลอม ข่าวที่สร้างความตื่นตระหนก สร้างความหวาดกลัวให้แก่ประชาชน ประชาชนต้องเป็นคนเลือกว่าเป็นจริงหรือข่าวลวงสร้างความเสียหาย เป็นการบิดเบือนข้อมูล 1.ในการสื่อสารประเด็นสาธารณะ ความจริงหรือข้อมูลบิดเบือนนั้น หาใช่รัฐบาลเป็นผู้ผูกขาดตัดสินแต่เพียงฝ่ายเดียว ประชาชนต้องร่วมเป็นผู้ตัดสินใจเองที่จะเลือกเชื่อหรือไม่เชื่อ เป็นข่า 2.ในการสื่อสารข้อมูลของปัจเจกบุคคล หรือองค์กร ถ้าไม่ตรงกับข้อเท็จจริง ตัวข้อมูลจะเป็นตัวตัดสินว่าข่าวจริงหรือข่าวปลอม
การตัดสินในในภาวะวิกฤต : Black Box Model แบบกล่องดำ
การตัดสินใจในภาวะวิกฤต มี 5 รูปแบบ คือ รูปแบบที่ 1 แบบท่านขุน รูปแบบที่ 2 แบบคำบอกเล่าประจบเอาหน้าเอาใจ รูปแบบที่ 3 แบบกล่องคำ ซึ่งแบบกล่องดำมีลักษณะในการตัดสินใจ ดังนี้
|