ins class="adsbygoogle" style="display:block; text-align:center;">
แนวทางการบริหารสถานการณ์วิกฤตกรณีโรคระบาด ในที่นี้จะไม่กล่าวถึงกระบวนการดำเนินการบริหาร เพียงจะกล่าวถึงแค่เป้าหมายในการบริหารสถานการณ์ ซึ่งมีเพียง 2 เป้าหมายหลัก คือ
ความเหลื่อมล้ำด้านสาธารณภัย เราสามารถจับผลลัพธ์มาศึกษาด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์หรือเป็นวิธีการที่ทำซำ้ได้ (replicable method) และความกระจ่างแจ้งที่เกิดขึ้นก็สามารถปรับปรุงภววิสัยให้ดีขึ้นให้มีความยั่งยืน ซึ่งจะเป็นการดำเนินการโดยที่ไม่มาจากการคาดเดา มิติความเหลื่อมล้ำที่เราจะต้องหาความกระจ่าง มี 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ
นอกจากนิสัยส่วนตัวที่กลายเป็นสันดานประจำตัวแล้ว คนขับขี่บนท้องถนนจะถูกสิ่งแวดล้อมภายนอกบวการให้สันดานดิบพุ่งทะลุนรกบนท้องถนน จากสิ่งประกอบสร้างหรือสิ่งที่บงการคนขับขี่ได้บนท้องถนน ดังนี้ (ขอกราบขอบพระคุณผู้ชับชี่บนทางหลวงหมายเลข 202 ที่กรุณาเสียสละเวลาแสดงความคิดเห็น)
การช่วงชิงอำนาจรัฐ หรือการครองสิทธิจัดการผลประโยชน์ของประเทศ วิธีการช่วงชิงอำนาจมีมากมาย แต่สำหรับบนท้องถนน ก็มีการช่วงชิงระหว่างรัฐ ประชาชน และกลุ่มผลประโยชน์ต่างๆ ซึ่งพอจะแยกแยะได้ ดังนี้
ปกติชาวบ้านร้านช่องจะคุ้นเคยกับพื้นที่และเวลาเป็นอย่างดี และดีมากๆ จนรัฐราชการหยิบยกมาใช้ประโยชน์ให้กับตัวเองมานานนมตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน รัฐราชการตระหนักดีว่าพวกเราพื้นที่และเวลามีส่วนสำคัญในการเป็นกรอบกำหนดให้เราแสดงออกให้เหมาะสม พวกเราทำกิจกรรมผ่านพื้นที่และเวลาในสถานการณ์ที่แตกต่างกันออกไป ในพื้นที่และเวลาที่เราทำกิจกรรมต่างๆ เรายังแสดงออกถึงตัวตนที่เปลี่ยนไปตามสถานการณ์ พื้นที่และเวลาทำให้เรารู้ว่าเราควรปฏิบัติตัวอย่างไร เมื่อเราอยู่ในที่ทำงาน เราต้องแสดงออกในเขตที่เหมาะสมกับบทบาทหน้าที่ที่เราได้รับ หากเราเป็นเด็ก เราควรจะวางตัวให้ความเคารพยำเกรงกับผู้ใหญ่ แต่ในขณะที่เราอยุ่ท่ามกลางเพื่อนในงานเลี่ยง หรือการออนไลน์อยู่ในโลกเสมือน ตัวตน วิธีการสื่อสารการใช้คำพูดจะแตกต่างไปจากการทำงาน
สภาพปัญหา ข้อขัดข้องและอุปสรรคในการดำเนินการแก้ไขปัญหาอุบัติเหตทางถนน
สภาพปัญหา ข้อขัดข้องและอุปสรรคในการดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุบัติเหตุ มีผลสืบเนื่องมาจาก 4 กลุ่มใหญ่ๆ และแต่ละกลุ่มได้สร้างทั้งอานิสงค์ให้กับผู้ใช้รถใช้ถนนและได้สร้างเส้นทางหายนะให้กับผู้ใช้รถใช้ถนน กล่าวคือ
จุดวิกฤตจุดหายนะที่พวกเราเผชิญอยู่
สังคมไทยมีจุดวิกฤตจุดหายนะที่พวกเราเผชิญอยู่ร่วมกัน จากบรรทัดฐานที่ก่อรูปมาจากการกำหนดของระบอบการปกครองที่ประทานมาให้โดยคนเพียงกลุ่มหยิบมือเดียว บรรทัดฐานนั้น ส่งผลให้เรา
เหลือบมองสนามปฏิบัติการด้านภัยพิบัติของไทย
เหลือบมองสนามปฏิบัติการด้านภัยพิบัติของไทย แค่เหลือบมอง ยังไม่ได้ค้นลึกก็พอจะโม้เป็นคุ้งเป็นแค ได้ว่า เหนื่อยใจ กับเหนื่อยใจ ไม่มีตื้นตันใจเอาเสียเลย ดังนี้
ท้องฟ้าสดใสภายใต้ผิวกะลามะพร้าว
ที่กล่าวว่าท้องฟ้าสดใสภายใต้ผิวกะลามะพร้าว ก็เพราะว่าเราไม่เคยสำเหนียกว่า เราปล่อยให้ชนชั้นนำและเหล่าข้าราชการสถาปนาอำนาจขึ้นมาเพื่อรักษาสถานะอันมั่งคั่งสุขสบาย ภายใต้ข้ออ้างที่มีภารกิจกำจัดความทุกข์ยากของประชาชน
ปภ.จำกัดนี่เองที่ผลิตซ้ำหายนะ : หมอตี๋ หมอเถื่อนยัดยากล่อมประสาท
เราจะไม่สามารถเข้าใจมูลเหตุของภัยพิบัติได้เลย หากไม่กลับไปทำความเข้าใจบริบทความขัดแย้งระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม 3 ส่วนหรือ 3 ประเด็น คือ ประวัติศาสตร์เพื่อคาดการณ์อนาคต ประวัติศาสตร์เพื่อปัจจุบัน และประวัติศาสตร์เพื่ออดีต
สังคมไร้เสียงจึงเสี่ยงสาธารณภัย
ปัญหาสิ่งแวดล้อม เริ่มจะเป็นประเด็นที่จะร้อนแรงขึ้นเรื่อยๆ แม้ผลกระทบจะถูกนำเสนอต่อสังคมมาอย่างเนิ่นนาน แต่เหมือนสังคมอยู่ในสภาวะที่ถูกกระทำให้ไร้เสียงสะท้อนจากความคิดเห็น จากประสบการณ์ จากความรู้สึก และความขับข้องใจของตนเองในฐานะปัจเจกหรือในความเป็นมนุษย์ จากเหตุผล 2 ประการ คือ
|