ins class="adsbygoogle" style="display:block; text-align:center;">
โซเซียลมีเดียกับสาธารณภัย
สังคมไทยมีการใช้โซเซียลมีเดียกันเป็นจำนวนมาก มีจำนวนบัญชีที่เปิดกับ Facebook มากประเทศหนึ่ง อยู่ในลำดับ 10 อันดับแรกของประเทศในโลก รวมทั้งยังนิยมใช้โซเซียลมีเดียแพลตฟอร์มอื่นๆ อีกมาก เช่น Twitter , Line ,instagram , Tiktok เป็นต้น กฎเกณฑ์การใช้กว้างๆ มี 3 หลักเกณฑ์ ได้แก่
ส่องปฐพีจับชีพจรโลก : การลดความเสี่ยงภัยพิบัติปี 2563 รัฐบาลกู้เงินมหาศาล 1.99 ล้านล้านบาท ประมาณสี่แสนล้านบาทก็จะมากระตุ้นเศรษฐกิจโดยให้หน่วยงานภาครัฐเป็นคนเสนอโครงการและงบประมาณที่จะต้องใช้ มุมมองที่จะพัฒนาพลันก็มุ่งไปที่ประชาชนยังไม่รู้ (ออกไปเสนอว่ากรมเราทำอะไร มี พ.ร.บ. มีองคค์กรอะไรบ้าง (เวลาเกิดเหตุการณ์จริงก็เดี๊ยงทุกที (แบบสอนคนอื่นได้แต่ตัวเองซื่อบื้อ) อุทกภัยคือไร ภัยแล้งคือไร องค์ประกอบของไฟ โชว์ปิดถังก๊าซ พากันวิ่งวุ่นอพยพไปยังสถานที่ปลอดภัย (แต่ไม่เคยเสนอ/ร่วมกันคิดว่าเวลาที่จะไม่ปลอดภัย) )
การช่วยเหลือภัยแล้ง : การวัดความแห้งแล้งการให้ความช่วยเหลือภัยแล้ง ประเทศไทยประเมินจากรายงานความต้องการ http://dn.core-201650_1.pdf มาใช้ในการตัดสินใจใช้งบประมาณในการดำเนินมาตรการช่วยเหลือด้านต่างๆ ที่ดูแปลกแยกไปจากสภาพสังคมอย่างยิ่ง อย่างเช่น ใช้จ่ายงบประมาณช่วยเหลือในการฝึกอบรมอาชีพเสริมในช่วงภัยแล้ง (ผ่านการอบรมแล้วก็ไม่มีระบบกลไกส่งเสริมอย่างต่อเนื่อง ทำให้แทบไม่เกิดการนำไปประกอบอาชีพในหมู่ประชาชนผู้ประสบปัญหาภัยแล้งเลย)
การวิจัยจากงานประจำด้านสาธารณภัยการวิจัยจากงานประจำด้านสาธารณภัย มีความน่าสนใจอย่างยิ่ง เพราะมีประเด็นให้ศึกษาได้อย่างกว้างขวาง โดยครอบคลุม 18 ประเภทภัย ในแต่ละประเภทภัยก็มีกลุ่มเนื้อหาที่หลากหลาย และสามารถดำเนินการได้ทั้ง 1.การวิจัยเชิงปริมาณ 2.การวิจัยเชิงคุณภาพ 3.การวิจัยเชิงบูรณาการ
เครื่องมือท้องถิ่นปลอดภัยพิบัติ : เครื่องมือที่ 1 พื้นที่ไม่ปลอดภัยพื้นที่ไม่ปลอดภัย เป็นเครื่องมือที่จะช่วยให้คนในชุมชนท้องถิ่นได้ร่วมกันสำรวจชุมชนของตนเองว่ามีพื้นที่ใดบ้างที่จะไม่ปลอดภัยจากนำ้ท่วม นำ้แล้ง ไฟป่า ไฟลามทุ่ง ไฟไหม้ในพื้นที่การเกษตร อุบัติเหตุทางถนน ภัยจากสารเคมีรั่วไหล ภัยจากการก่อการร้าย ฯลฯ ซึ่งจะทำให้ผู้คนในชุมชนท้องถิ่นได้รับความเสียหายทั้งชีวิตและทรัพย์สิน ตลอดจนเกิดความไม่สงบสุขในชุมชนท้องถิ่น
การสร้างนวัตกรรมป้องกันสาธารณภัยการสร้างสรรค์นวัตกรรมป้องกันสาธารณภัยให้เกิดขึ้น มีขั้นตอนการดำเนินงาน 4 ขั้นตอน ประกอบด้วย ขั้นที่ 1 Self Awekening เป็นการค้นหาอดีตร่วม เพื่อสร้างสำนึกร่วมในการป้องกันสาธารณภัย ด้วยการสืบค้นข้อมูลในอดีต ประวัติศาสตร์ คำบอกเล่า ความเป็นมา สถิติจากแหล่งต่างๆ รวมทั้งค้นหาแกนนำ แกนที่จะเชื่อมโยงเครือข่ายให้ได้ครอบคลุมพื้นที่เสี่ยง อาจข้ามจังหวัดข้ามอำเภอ ให้ยึดถือตามกายภาพพื้นที่เป็นสำคัญ
การเตรียมพร้อมเผชิญเหตุฉุกเฉินในการเผชิญสถานการณ์สาธารณภัยที่มีประสิทธิภาพ จะต้องประกอบด้วยเงื่อนไขที่ดีที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้สำหรับแก้ไขสถานการณ์ที่้เกิดขึ้น ซึ่งอาจกล่าวว่าเป็นกลยุทธ์ ซึ่งหน่วยปฏิบัติจะต้องแยกให้ออกจากยุทธวิธีในการปฏิบัติงาน หรืออาจกล่าวได้ว่ายุทธวิธีเป็นหน้าที่ของผู้ปฏิบัติ ส่วนกลยุทธ์เป็นหน้่าที่ของผู้บริหาร
ลักษณะบ่งชี้เมืองขวางน้ำการขยายตัวของชุมชนเมืองก่อให้เกิดผลกระทบในด้านอุทกภัยขึ้น โดยพื้นที่ได้รับผลกระทบส่วนใหญ่จะไม่ใช่พื้นที่ชุมชนเมืองที่เป็นต้นเหตุ แต่เป็นชุมชนชนบท ภายใต้รัฐราชการที่เข้มแข็ง จึงยากที่จะเปลี่ยนแปลงการพัฒนาหรือพลวัตที่นำไปสู่ความยั่งยืน ในอนาคตจะต้องใช้เม็ดเงินมหาศาลในการบรรเทาผลกระทบ
ความหมายของการอยู่รอดปลอดภัยความหมายของการอยู่รอดปลอดภัย คือ การที่ความเสี่ยงภัยพิบัติจะสามารถอยู่ร่วมกับมนุษย์ได้อย่างสมดุลที่ยั่งยืน มนุษย์จะต้องมีการเปลี่ยนแปลง ดังนี้
|
|
|