ins class="adsbygoogle" style="display:block; text-align:center;">
มุมมองความ (ไม่) เป็นธรรมในการคมนาคมขนส่งงานศึกษาที่มีในสังคมไทยเกี่ยวกับความไม่เป็นธรรมทางสังคมด้านคมนาคมขนส่ง จะพูดถึงความเหลื่อมล้ำในด้านจัดสรรทรัพยากรที่ไม่กระจายให้กับทุกกลุ่มได้ใช้ประโยชน์อย่างเท่าเทียม
การลงทุนด้านความปลอดภัยทางถนนอย่างยั่งยืนการแก้ไขปัญหาให้มีประสิทธิผล อันจะมีภาพของการลดลงของสถิติอุบัติเหตุทางถนน จนอาจจะถึงศูนย์รายต่อแสนประชากร จะต้องมีการลงทุนอย่างยั่งยืนด้านความปลอดภัยทางถนน อันประกอบด้วย 3 แนวทาง คือ
ความไม่เป็นธรรมทางสังคมในการใช้รถใช้ถนน (ตอนที่ 1) : โครงสร้างสังคมด้านการคุ้มครองทางสังคมจากสถิติอุบัติเหตุทางถนนของประเทศไทย ที่มีผู้เสียชีวิตเฉลี่ย 36.2 คนต่อแสนประชากร สะท้อนให้เห็นว่าเราไม่สามารถที่จะทำให้ทุกคนที่อยู่บนท้องถนนมีสุขภาวะที่ดีมีความปลอดภัยโดยเท่าเทียมกันได้ ซึ่งปัญหาอุบัติเหตุเป็นผลมาจากความไม่เป็นธรรมทางสังคม 8 ด้าน หนึ่งใน 8 ด้าน คือมาจากโครงสร้างสังคมด้านการคุ้มครองทางสังคม
ความไม่เป็นธรรมทางสังคมในการใช้รถใช้ถนน (ตอนที่ 2) : โครงสร้างสังคมด้านการบริหารจัดการภาครัฐ
หนึ่งใน 8 ด้านนั้น คือ มาจากโครงสร้างสังคมด้านการบริหารจัดการภาครัฐ ซึ่งประกอบสร้างลักษณะความไม่เป็นธรรมทางสังคมขึ้น ดังนี้
เหตุผลทางสังคมวัฒนธรรมของการไม่สวมหมวกนิรภัยจากงานวิจัยพฤติกรรมทางสังคมของคนไทย พอจะอนุมานได้ว่า เราไม่สามารถจะอธิบายพฤติกรรมการไม่สวมหมวกนิรภัยของผู้ขับขี่และผู้โดยสาร จากแง่มุมที่ว่าคนเหล่านั้นเป็นผู้ที่ขาดความรู้ถึงผลกระทบจากการไม่สวมหมวกนิรภัยเมื่อประสบอุบัติเหตุทางถนน เท่านั้น หากจำเป็นต้องเข้าใจอรรถประโยชน์ทางสังคมและคุณค่าด้านบวกของการไม่สวมหมวกนิรภัยในแต่ละวัฒนธรรมร่วมด้วย โดยเฉพาะเหตุผลทางสังคมวัฒนธรรมของการขับขี่โดยปราศจากการสวมหมวกนิรภัย ซึ่งอาจจะไม่สอดคล้องกับตรรกะของความรู้ที่เป็นเหตุเป็นผลของสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ
|
|
|