วิทยาการสาธารณภัย By ดร.วัฒกานต์ ลาภสาร

การตัดสินใจในภาวะวิกฤต มี 5 รูปแบบ คือ (ในที่นี้จะอธิบายรูปแบบที่ 3 สำหรับรูปแบบที่ 4 และ 5 จะอยู่ในเพจต่อไป)

รูปแบบที่ 1 แบบท่านขุน

รูปแบบที่ 2 แบบคำบอกเล่าประจบเอาหน้าเอาใจ

รูปแบบที่ 3 แบบกล่องคำ ซึ่งแบบกล่องดำมีลักษณะในการตัดสินใจ ดังนี้

1.เป็นการตัดสินใจที่เป็นผลมาจากการสังเกตุเห็นผลหรือเห็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น จากการที่ทำลักษณะนี้จะเกิดผลในลักษณะนี้ทุกครั้ง สังเกตุดูจนมั่นใจว่าถ้าทำแบบนี้แล้วจะได้ผลลัพธ์เช่นนั้นค่อนข้างแน่นอน การตัดสินใจรูปแบบนี้ จะเห็นได้จากการตัดสินต่อสู้กับการระบาดของไวรัสโคโรน่า 2019 ในช่วงปี 2563-2564 ที่รัฐบาลตัดสินใจบริหารจัดการจากการวิเคราะห์จากสมมติฐานของผู้เชี่ยวชาญ (ที่แท้ก็แค่ข้าราชการตัวพ่อตัวแม่แค่นั้นเอง)โควิด-19 เป็นโรคอุบัติใหม่การทำความเข้าใจปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น ผู้เชี่ยวชาญต้องเก็บข้อมูล และวิเคราะห์จากหลักฐานเชิงประจักษ์ที่เกิดจากผลการศึกษาตามหลักวิชาการที่เป็นมาตรฐาน เรียกได้ว่าผู้เชี่ยวชาญเป็นผู้ชี้แนวทางในการบริหารจัดการ

                   2.เป็นการตัดสินใจจะรักษาส่วนสำคัญไม่ให้ได้รับผลกระทบ จะเป็นลักษณะที่บางพื้นที่/บางโครงสร้าง/บางกิจการจะไม่ให้เกิดผลกระทบจากสาธารณภัยเด็ดขาด จะเกิดขึ้นกับอัคคีภัย อุทกภัย เป็นต้น

xxxxxxx

Search

Social

Facebook : <a href="https://www.facebook.com/profile.php?id=61555375088440"

Instagram

Twitter