วิทยาการสาธารณภัย By ดร.วัฒกานต์ ลาภสาร

 

“ทั้งอินเดียและปากีสถานมีการเตรียมพร้อม” “ที่จะห้ำหั่นกันมาอย่างต่อเนื่อง” ไม่เคยคิดที่มีสันติภาพร่วมกัน” “จากการแก่งแย่งแคว้นแคชเมียร์”

“จากการห้ำหั่นกันครั้งล่าสุด” “ด้วยสมรภูมิทางอากาศ” “ด๊อกไฟต์ เมื่อวันที่ หก เดือนพฤษภาคม ปีสองพันห้าร้อยหกสิบแปด” “อินเดียใช้เครื่องบินรบ 72 ลำ” “ปากีสถานใช้ 43 ลำ” “ผลปรากฏว่า” “เครื่องบินรบอินเดียร่วงไป 5 ลำ” “ปากีสถานไม่ร่วงสักลำ”

“สะท้อนว่าอินเดีย” “มีกองทัพ 3 เหล่าทัพ” ขนาดใหญ่อันดับต้นๆ ของโลกเป็นรัฐที่มีทรัพยากรมาก ใช้งบทางทหารเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง “ในบางปีเป็นอันดับสามของโลก แต่สมรรถนะการรบจริงไร้ประสิทธิภาพ

“เช่นเดียวกับไทยมีกองทัพ 3 เหล่าทัพ” “และอีกหนึ่งกองบัญชาการทหารร่วม” “พร้อมอัตรานายพลสามพันกว่าคน” “แต่ทำงานแบบแยกส่วน” “และบางส่วนซ้ำซ้อน” “ซื้อเรือดำน้ำ” “เรือรบเครื่องบิน” “แต่มีปัญหาอะไหล่” “การบำรุงรักษาและขาดกำลังพลที่ใช้งานได้จริง”

“รบจริง” “คนไทยอย่าได้หวังอะไร” “กับประสิทธิภาพ” “ต้องสูญเสียทรัพยากร” “และเม็ดเงินปูนบำเหน็จ” “ความดีความชอบการพลีชีพ”มหาศาล

Search

@msjo.net

Twitter

https://www.youtube.com/channel/UCWQvQCFFyHZtznjgmYvVbfw