การศึกษาทิศทางการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในประเทศไทย ในปี พ.ศ.2566 พบว่า
1.ด้านงบประมาณ มีการให้ความสำคัญในการจัดสรรงบประมาณเพื่อดำเนินโครงการ/กิจกรรม ดังนี้
ที่ |
กรอบทิศทาง | ร้อยละการจัดสรรงบประมาณโดยเฉลี่ย 10 ปี ย้อนหลัง | จำนวนผู้ประสบภัยพิบัติที่เกิดขึ้นเฉลี่ย 10 ปีย้อนหลัง | |
อันดับที่ | ร้อยละ | |||
1 |
ภัยพิบัติด้านอุทกวิทยา | 66 | 2 |
18.5 |
2 |
ภัยพิบัติด้านธรณีวิทยา | 11 | 4 |
9 |
3 |
ภัยพิบัติด้านอุตุนิยมวิทยา | 8 | 3 |
16 |
4 |
ภัยพิบัติด้านชีวภาพ | 1 | 5 |
2 |
5 |
ภัยพิบัติด้านนวัตกรรมของมนุษย์ | 12 | 1 |
54 |
6 | ภัยพิบัติด้านสังคม | 2 | 6 |
0.5 |
จากตารางข้างต้น จะพบว่า การจัดสรรงบประมาณไม่สอดคล้องกับจำนวนครั้งการเกิดภัยพิบัติแต่อย่างใด ขึ้นกับการวางกลยุทธ์ในการสูบงบประมาณของนักเลือกตั้งประการหนึ่ง ขึ้นกับศักยภาพของรัฐราชการปรสิตที่ทำโครงการ/กิจกรรมที่ไร้ผลลัพธ์แต่มีช่องทางที่สำเร็จได้ง่ายๆ และมีช่องทางงาบได้สะดวกเรียบร้อยไร้ควันไร้กลิ่น
2.ด้านการศึกษาวิจัย
ที่ |
กรอบทิศทาง |
ร้อยละการศึกษาวิจัยโดยเฉลี่ย 10 ปี ย้อนหลัง |
จำนวนผู้ประสบภัยพิบัติที่เกิดขึ้นเฉลี่ย 10 ปีย้อนหลัง |
|
อันดับที่ |
ร้อยละ |
|||
1 |
ภัยพิบัติด้านอุทกวิทยา | 35 | 2 |
28.5 |
2 |
ภัยพิบัติด้านธรณีวิทยา | 20 | 4 |
9 |
3 |
ภัยพิบัติด้านอุตุนิยมวิทยา | 14 | 1 |
56 |
4 |
ภัยพิบัติด้านชีวภาพ | 8 | 5 |
2 |
5 |
ภัยพิบัติด้านนวัตกรรมของมนุษย์ | 10 | 3 |
4 |
6 |
ภัยพิบัติด้านสังคม | 14 | 6 |
0.5 |