การจัดการภัยพิบัติในสภาวะพ่อขุนจะต้องพิจารณาในหลายปัจจัย เช่น ปริมาณผู้ประสบภัยพิบัติ สภาพแวดล้อมและสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลงได้เร็ว ความพร้อมของระบบสื่อสารและการแจ้งเตือนภัยพิบัติ และสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับการเตรียมตัว ต่อไปนี้เป็นขั้นตอนการจัดการภัยพิบัติภายใต้สภาวะพ่อขุนที่สำคัญ:
-
- เตรียมตัว: การเตรียมตัวเป็นสิ่งที่สำคัญมากในการจัดการภัยพิบัติ ซึ่งรวมถึงการสร้างแผนการจัดการภัยพิบัติ การจัดทำชุดเครื่องมือและอุปกรณ์ป้องกันภัยพิบัติ การฝึกอบรมพนักงานที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญในการจัดการภัยพิบัติ การจัดหาสถานที่หลบภัย และการสร้างแผนการปฏิบัติการเมื่อเกิดภัยพิบัติขึ้น
- สื่อสาร: การสื่อสารเป็นสิ่งที่สำคัญในการจัดการภัยพิบัติ ซึ่งรวมถึงการใช้ระบบสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ เช่น ระบบสื่อสารวิทยุ การใช้โทรศัพท์มือถือ และอินเทอร์เน็ต เพื่อแจ้งเตือนผู้ประสบภัยพิบัติและส่งข้อมูลสำคัญเกี่ยวกับสถานการณ์ภัยพิบัติให้กับผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง
ในอีกด้านหนึ่ง ยามใดที่เกิดภัยพิบัติ จิตวิญญาณลูกพ่อขุนของเหล่ารัฐราชการก็ได้เวลาแสดงอิทธิฤทธิ์อย่างถึงพริกถึงขิง ให้พ่อขุนได้พึงใจ สภาวะดังกล่าวเกิดซ้ำแล้วซ้ำเล่า ทุกครั้งเมื่อสังคมไทยต้องเผชิญกับภัยพิบัติ
ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากสภาวะภัยพิบัติ ภายใต้อุ้งเท้าลูกพ่อขุน ดังกล่าวข้างต้น
1.ก่อหวอดความขัดแย้งขึ้นในสังคม
2.ลดโอกาสที่สังคมจะพัฒนาขับเคลื่อนไปสู่สังคมนิรภัย
3.สร้างความเข้มแข็งของกลไกความเหลื่อมล้ำขาดความเป็นธรรม
พลวัตของสังคมที่เกิดขึ้น
1.ภาครัฐราชการ
1.1 ป้องกันตนเอง ด้วยการสร้างเงื่อนไขที่ยากต่อการปฏิบัติให้กับประชาชน
1.2 นำนโยบายมาสู่การบังคับควบคุมในพื้นที่ ใช้ความรู้สังคมศาสตร์เพื่อการดกขี่ปกครอง
1.3 นำเสื้อโหลที่มีเปอร์เซ็นต์ในการทำงานมาใช้กับกลุ่มคนชั้นล่างสุด กล่าวคือใช้ระเบียบ วิธีปฏิบัติเดียวกันกับคนทุกชั้น ไม่กล้าตัดสินใจมอบวิธีการอันพิเศษใดๆ
1.4 รับข้อมูลจากพื้นที่เพียงเท่าที่จำเป็น แต่คอยฟังจับจ้องรับข้อมูลจากเบื้องบนมากกว่าหลังจากที่สอพลอไปแล้ว
1.5 ตัดสินใจใช้งบประมาณเพื่อกลุ่มผลประโยชน์ที่เกาะกินในระบบรัฐราชการ ไม่มีคุณ่าต่อประชาชนอย่างยั่งยืน
2.ภาคประชาชน
สถาปนาความเชื่อที่เป็นปฏิปักษ์ต่อรัฐราชการ จากปัจจัยประกอบต่างๆ เช่น
2.1 การเข้าถึงข้อมูลข่าวสารที่ขัดแย้งไม่อาจที่จะยอมรับหรือพึงพอใจ
2.2 การจัดการบริการของรัฐที่ไม่น่าไว้วางใจ
2.3 การใช้จ่ายงบประมาณของรัฐราชการ
2.4 การรับฟังเสียงของชุมชนและนำมาเป็นแนวทางกำหนดนโยบายและมาตรการแก้ไขปัญหา