วิทยาการสาธารณภัย By ดร.วัฒกานต์ ลาภสาร

“จากสมรรถนะจากการรบของกองทัพอินเดีย” “ที่ถือได้ว่าเป็นทหารอาชีพแล้ว” “แทบช๊อกเมื่อนึกถึงกองทัพกะลาแลนด์”

“กองทัพอินเดีย” “ทหารยึดมั่นในความเป็นกลาง” “ไม่มีบทบาททางการเมือง” “แทบไม่มีนายพลอินเดีย”
“เข้าสู่การเมือง หรือธุรกิจหลังเกษียณ”

“กองทัพกะลาแลน” “ทหารเข้ามาแทรกแซงการเมือง” “ทหารเข้ามาตั้งรัฐบาลเอง” “ทหารมีพรรคการเมืองของทหาร” “นายพลเมื่อเกษียณเข้ามาเล่นการเมือง” “และเข้าไปนั่งในบอร์ดรัฐวิสาหกิจทุกแห่ง”

“กองทัพอินเดีย” “งบประมาณผ่านระบบรัฐสภา” “สามารถตรวจสอบได้ และมีการจำกัดสิดกองทัพในการประกอบธุรกิจ”

“กองทัพกะลาแลน” “งบประมาณมีงบลับจำนวนมหาศาล” “ไม่มีการตรวจสอบ”, “กองทัพประกอบธุรกิจ”

“กองทัพอินเดีย” “ไม่มีการจัดตั้งกองกำลัง” “ไปแทรกแซงการบริหารพัฒนาพื้นที่ของฝ่ายพลเรือน” “พลเรือนบริหารท้องถิ่นเต็มรูปแบบ”
“กองทัพกะลาแลน” “จัดตั้ง กอ-ออ-รอ-มอ-นอ” “ไปแทรกแซงการบริหารพัฒนาพื้นที่” “ของพลเรือนในทุกจังหวัด”

“กองทัพอินเดีย” “แยกชัดเจนระหว่างภาครัฐ” “กิจการทางทหาร” “กิจการของทุน” ชัดเจนในเชิงสถาบัน”
“กองทัพกะลาแลน” “มีความเชื่อมโยงกับทุนในเครือข่าย” “ทั้งการสัมปทาน และธุรกิจปีละหลายหมื่นล้านต่อปี” “ตัวเล็กเล็ก-หัวยังเปียกเปียก” “ก็หากินกับทหารเกณฑ์” “หากินกับทหารชั้นผู้น้อยไปพลางพลาง” “รอโอกาสขึ้นแท่นไปงาบใหญ่ใหญ่ขึ้น”

“ให้รบกับศัตรูของชาดคาดว่าจะหัวหด” “แต่ใครจะมาแย่งชามข้าว” “แม่งขนปืนยาวมายิงกะบาน”

Search

@msjo.net

Twitter

https://www.youtube.com/channel/UCWQvQCFFyHZtznjgmYvVbfw