วิทยาการสาธารณภัย By ดร.วัฒกานต์ ลาภสาร

เทคโนโลยีการลดปริมาณก๊าซเรือนกระจก

เทคโนโลยีของมนุษย์ในการลดปริมาณก๊าซเรือนกระจกในบรรยากาศ แบ่งได้เป็น 3 บริบท ได้แก่

  1. เทคโนโลยีที่มีอยู่ในปัจจุบัน จำนวน 17 เทคโนโลยี
  2. เทคโนโลยีที่กำลังพัฒนา/คาดว่าจะเกิดขึ้น จำนวน 19 เทคโนโลยี
  3. เทคโนโนโลยีที่เป็นส่วนเสริมข้อ 1 และข้อ 2 จำนวน 4 เทคโนโลยี

เทคโนโลยีที่มีอยู่ในปัจจุบัน (17 เทคโนโลยี) ได้แก่

ก. ประเภทพลังงานทดแทนและการจัดการของเสีย จำนวน 10 เทคโนโลยีได้แก่

เทคโนโลยี Covered Lagoon , เทคโนโลยี Upflow Anaerobic Sludge Blanket (UASB), เทคโนโลยี Channel Digester (CD), เทคโนโลยี PV Grid connected system, เทคโนโลยี PV Stand alone system, พลังงานลม (Wind power), การผลิตชีวมวล (Biomass), เทคโนโลยีเตาเผาขยะมูลฝอยสาหรับโรงไฟฟ้า,เทคโนโลยีการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานนาแบบสูบกลับ, เทคโนโลยีการผลิตขยะเชื อเพลิง RDF

ข.การเพิ่มประสิทธิภาพพลังงาน จำนวน 5 เทคโนโลยี ได้แก่

เทคโนโลยีการนำพลังงานสูญเสีย (Heat loss) กลับมาทำประโยชน์
, เทคโนโลยีการเพิ่มประสิทธิภาพระบบทำความเย็น (Chiller),
เทคโนโลยีการเพิ่มประสิทธิภาพระบบผลิตความร้อน (Boiler)
,เทคโนโลยีการเพิ่มประสิทธิภาพระบบแสงสว่าง (LED),เทคโนโลยี ORC เพื่อใช้งานในแหล่งพลังงานความร้อนต่ำ

ค.การขนส่ง จำนวน 2 เทคโนโลยี ได้แก่

เทคโนโลยีการผลิตน้ำมันไบโอดีเซลทดแทนการใช้น้ำมันสาหรับยานยนต์ (Biodiesel for Vehicle), รถไฟฟ้าระบบรางเพื่อการขนส่ง ทดแทนน้ำมันดีเซล (Railway Electrification)

เทคโนโลยีที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคต (19 เทคโนโลยี) ได้แก่

ก. เทคโนโลยีพลังงานทดแทนและการจัดการของเสีย จำนวน 10 เทคโนโลยี ได้แก่

เทคโนโลยี CSTR (Continuous Stirred Tank Reactor), เทคโนโลยี Dry Fermentation, การใช้เซลล์แสงอาทิตย์แบบวัสดุเก็บเกี่ยวแสงอาทิตย์ (Perovskite), การเคลือบวัสดุลดการสะท้อนแสงที่ผิวหน้าเซลล์แสงอาทิตย์แบบ Tandem Solar Cells, การใช้เซลล์แสงอาทิตย์ในรูปแบบใหม่ (Full spectrum solar cell), การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานความร้อนแสงอาทิตย์ (Solar Thermal Electricity), การผลิตไฟฟ้าจากกังหันลมนอกชายฝั่งทะเล (Offshore wind farm), การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานนาแบบไม่มีแหล่งกักเก็บน้ำ (Run off the river plants (no reservoirs)), การผลิตไฟฟ้าระหว่างกังหันก๊าซและเซลล์เชื อเพลิง (Fuel Cell-Gas Turbine Hybrid System), เทคโนโลยีการดักจับคาร์บอน และการนาไปใช้ประโยชน์ (CCUS: Carbon Capture and Utilization)

ข. การเพิ่มประสิทธิภาพพลังงาน จำนวน 5 เทคโนโลยี ได้แก่

เทคโนโลยีระบบผลิตความร้อน โดยการติดตั้งระบบผลิตพลังงานร่วมเพื่อทดแทนระบบผลิตพลังงานแบบแยกส่วนแบบ Poly-Generation, เทคโนโลยีการผลิตน้ำเย็น โดยการผลิตนาเย็นแบบดูดซึมโดยใช้ความร้อนจากพลังงานแสงอาทิตย์ (Absorption chiller using solar heating), เทคโนโลยีการผลิตน้ำเย็นโดยใช้ Heat pump using low temp waste, การใช้มอเตอร์แบบไร้แปลงถ่าน (Brushless DC Motor) , เทคโนโลยีกักเก็บพลังงานไฟฟ้าจากกังหันลมในรูปก๊าซไฮโดรเจน (Wind Hydrogen Hybrid))

ค. การขนส่ง จำนวน 4 เทคโนโลยี ได้แก่

เทคโนโลยีการปรับเปลี่ยนรถยนต์ไฟฟ้าทดแทนน้ำมันดีเซล (Electric Car), เทคโนโลยีรถยนต์ไฟฟ้าเพื่อการขนส่งมวลชน (Electric Bus), เทคโนโลยีการผลิตก๊าซไบโอมีเทนอัดเพื่อทดแทนเชื้อเพลิงสาหรับยานยนต์ (Compressed Biomethane Gas: CBG), เทคโนโลยีการผลิตเชื้อเพลิงไฮโดรเจนเพื่อทดแทนการใช้นามัน และก๊าซธรรมชาติ (Hydrogen Fuel Cell)

เทคโนโลยีส่วนเสริม(4 เทคโนโลยี) ได้แก่

1.เทคโนโลยีกักเก็บพลังงานทางด้านเคมี (Chemical Energy Storage)
แบตเตอรี่ลิเทียมไอออน
แบตเตอรี่ลิเทียมซัลเฟอร์
รีดอกซ์แบตเตอรี่
2. เทคโนโลยีกักเก็บพลังงานแบบฟลายวีล (Flywheel Energy Storage)
3. ระบบโครงข่ายสาหรับส่งไฟฟ้าอัจฉริยะแบบครบวงจรโดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัล (Smart Grid)
4. เทคโนโลยีระบบสารองไฟฟ้า (UPS)

Search