วิทยาการสาธารณภัย By ดร.วัฒกานต์ ลาภสาร

การก้าวข้ามความเสี่ยงภัยพิบัติเป็นกระบวนการที่ใช้เพื่อลดความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากสถานการณ์ภัยพิบัติ หรือการจัดการกับผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นเมื่อเกิดภัยพิบัติในอนาคต

เพื่อก้าวข้ามความเสี่ยงภัยพิบัติ คุณสามารถดำเนินการตามขั้นตอน ดังนี้:

  1. การประเมินความเสี่ยง: การประเมินความเสี่ยงจะช่วยให้คุณเข้าใจถึงปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความเสี่ยงภัยพิบัติ และประเมินความพร้อมขององค์กรในการจัดการกับภัยพิบัติ การประเมินความเสี่ยงนี้สามารถทำได้โดยใช้เครื่องมือและเทคนิคต่างๆ เช่น การสำรวจพื้นที่ การวิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยง เป็นต้น
  2. การวางแผน: หลังจากที่ประเมินความเสี่ยงแล้ว คุณจะต้องวางแผนเพื่อจัดการกับภัยพิบัติ โดยคุณควรรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับสถานการณ์ ตั้งค่าแผนไว้ก่อน และตัดสินใจเกี่ยวกับกลยุทธ์ที่เหมาะสมในการจัดการกับภัยพิบัติ
  3. การดำเนินการ: การดำเนินการเป็นขั้นตอน  เป็นสิ่งที่สำคัญมากในการก้าวข้ามความเสี่ยงภัยพิบัติ ซึ่งอาจประกอบไปด้วยการระบายน้ำ การอพยพ การเตรียมอุปกรณ์และวัสดุ เป็นต้น

สภาพแวดล้อมทางกายภาพในปัจจุบัน มนุษย์เข้าประหัตประหารกับสิ่งแวดล้อมมาอย่างยาวนาน  เป็นความขัดแย้งที่ยากจะประนีประนอมกันได้

แนวทางการลดความขัดแย้งดังกล่าว แม้จะไม่ตอบโจทย์ได้ทั้งหมดแต่อย่างน้อยก็สามารถยืดหายนะไปได้อีกนาน

1.การสถาปนาระเบียบกฎหมายที่จะประนีประนอมกับสิ่งแวดล้อม

กฎหมายที่มีในปัจจุบัน ถือว่าเดินมาถึงครึ่งทางแล้ว เช่น

1.1กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม

1.2กฎหมายด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม

1.3กฎหมายที่ควบคุมด้านสิ่งแวดล้อมสำหรับเมือง

1.4กฎหมายด้านทรัพยากรธรรมชาติ

แต่ยังขาดกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับปัจจัยประกอบตั้งต้นหายนะ ที่เป็นพื้นฐานชีวิตนิรภัย

2.การสถาปนาแนวทางการพัฒนาใหม่

รูปแบบการพัฒนานี้ ปัจจุบันก็ได้เริ่มดำเนินการไปแล้วบางส่วน เช่น

2.1 แนวคิด การเติบโตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Green Growth)

2.2 แนวคิด  ทิศทางสีเขียวเพื่อเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน (Green Economy)

อย่างไรก็ตาม สถานการณ์ในปัจจุบันก็ยังห่างไกลจากเป้าหมายอยู่มาก  ก็ต้องตั้งหน้าตั้งตาพัฒนากันต่อไป

3.การสถาปนาแนวทางการดำรงชีวิตใหม่

แนวทางนี้เริ่มมีการพัฒนาการพัฒนากันอย่างจริงจังตั้งแต่การระบาดของไวรัสโควิด-19 เช่น

3.1 วิถีชีวิตใหม่ (New N0rmal)

วิถีชีวิตใหม่(New Normal) ที่ต้องใฝ่ธรรม

– แนวทางการดำรงชีวิตวิถีใหม่ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

New Normal โลกใหม่ที่ไม่เหมือนเดิม

                    3.2 สถาปนาความรู้พันธุวิศวกรรมใหม่ (ทั้งมนุษย์ สัตว์ และพืช)

ผู้เขียนก็เพ้อเจ้อว่า พัฒนากันจนกระทั่งสามารถใช้ชีวิตกันได้บนดาวดวงอื่นหรือบนยานอวกาศ