ในการวางแผนในการป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยแล้งให้กับชุมชน ผู้วางแผนจะต้องติดตามความเคลื่อนไหว/การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมของชุมชน ๓ ด้าน คือ
๑. แหล่งรายได้อื่นที่ไม่อ่อนไหวต่อสภาพภูมิอากาศ
คำนวณจากสัดส่วนของปริมาณการบริโภคของครอบครัวต่อรายได้รวมกันของการเลี้ยงสัตว์ และรายได้ประจำนอกภาคการเกษตร
ครอบครัวในประเทศ หรือในพื้นที่อำเภอ หรือในพื้นที่จังหวัด หรือในพื้นที่ตำบลมีรายได้นอกภาคการเกษตรมาก ก็จะมีความเสี่ยงต่อภัยแล้งน้อย
และสัดส่วนการบริโภคเนื้อสัตว์มากกว่าสัดส่วนการบริโภคพืช ก็จะมีความเสี่ยงต่อภัยแล้งมาก
๒. การพึ่งพาต่อการผลิตข้าวในการยังชีพพื้นฐาน
โดยคำนวณจากสัดส่วนของการผลิตข้าวต่อสัดส่วนค่าใช้จ่ายในการซื้ออาหาร
๓. ต้นทุนด้านปริมาณน้ำของชุมชน
มีนำ้ต้นทุนมากก็จะมีความเสี่ยงน้อย
—————-555—————-