ภัยพิบัติ ถึงแม้จะมีต้นกำเหนิดที่โดดเด่น แต่ความโดดเด่นนั้นก็ไม่สามารถลดทอนปัจจัยขับเคลื่อนการเพิ่มขึ้นของความเสี่ยงภัยพิบัติได้ อีกทั้ง สังคมไทยได้มีการสร้างวาทกรรมขึ้นมาปลอบประโลมจิตใจ ทำให้ลดทอนความตื่นตัวในการป้องกันการเพิ่มขึ้นของความเสี่ยงภัยพิบัติ ดังนี้
1.มีการเพิ่มขึ้นของปัจจัยขับเคลื่อนความเสี่ยงภัยพิบัติ
1.1 ลักษณะ/รูปแบบของการทรยศมีหลากหลายมากขึ้นในสังคม ไม่ว่าจะเป็นการทรยศต่อจรรยาบรรณวิชาชีพ ความเชื่อทางศาสนา มาตรฐานทางจริยธรรมของผู้ดำรงตำแหน่ง ความโปร่งใสขององค์กร
1.2 การทำกำไรแบบเสี่ยงของภาคประชาชนภาคธุรกิจเอกชน
1.3 การให้บริการ/ทิพย์ของภาครัฐ การดำเนินงานที่ไร้คุณค่าไม่คุ้มค่ากับการใช้เงินงบประมาณ ไม่เกิดประสิทธิภาพประสิทธิผล
2.สร้างวาทกรรมปลอมประโลมจิตใจส่งผลให้ลดทอนความตื่นตัวในการป้องกันความเสี่ยงภัยพิบัติ
2.1 ความโชคร้่าย เวรกรรมแต่ชาติปางก่อน สร้างเวรสร้างกรรมเอาไว้
2.2 การสูญเสียสิ่งศักดิ์สิทธิ์คอยปกป้องคุ้มครอง ไปทำผิดต่อสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทำให้ถูกลงโทษ