วิทยาการสาธารณภัย By ดร.วัฒกานต์ ลาภสาร

ในช่วงเทศกาล ผู้ขับขี่หลายล้านคนได้เพิ่มประสบการณ์ในการขับขี่บนท้องถนนยาวนานขึ้น จากปกติที่ขับในระยะทางใกล้ๆ ซ้ำๆ ทุกวัน ทำให้เกิดการผลิตวัฒนธรรม ผลิตจิตสำนึกขึ้น  บางคนอาจผ่านการรับรู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้ปลอดภัยมากขึ้น เรียกว่าผลิตซ้ำความปลอดภัยมากขึ้น  บางคนก็ยังไม่มีการรับรู้ปรับเปลี่ยน ยังคงผลิตซ้ำความเสี่ยงบนท้องถนน

จากการศึกษาผู้ขับขี่ที่ผ่านเข้า-ออกกรุงเทพมหานคร จำนวน 480 คน ในช่วงเทศกาลปีใหม่ 2563 (27 ธันวาคม 562 – 2 มกราคม 2563)      ณ จุดตรวจองค์การบริหารส่วนตำบลไทรใหญ่  อำเภอไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี บนทางหลวงสาย 340 มีรายละเอียด ดังนี้

ตารางสถิติพรรณาการผลิตซ้ำความเสี่ยงบนท้องถนนในช่วงเทศกาลปีใหม่ 2563

การผลิดซ้ำความเสี่ยง

ค่าเฉลี่ย

SD.

ค่าความเบ้

ค่าความโด่ง

Alpha if item delete

ใช้ความเร็วสูง

9.5

1.5

0.01

-0.04

0.7

ไม่ระมัดระวังทางร่วม/ทางแยก/ทางลักผ่าน

5.6

1.1

0.04

0.07

0.4

ใช้โทรศัพท์ขณะขับ

1.2

1.4

0.08

0.06

0.8

แซงไม่ปลอดภัย

3.4

1.9

0.04

-0.09

0.6

ง่วงยังทนขับ

2.2

1.4

0.06

0.05

0.4

อื่นๆ

0.9

1.3

0.04

0.06

0.3

ค่าสัมประสิทธิ์ความเชื่อถือได้ของมาตรวัด = 0.53

ตารางสถิติพรรณาการผลิตซ้ำความปลอดภัยบนท้องถนนในช่วงเทศกาลปีใหม่ 2563

การผลิตซ้ำความปลอดภัย

ค่าเฉลี่ย

SD.

ค่าความเบ้

ค่าความโด่ง

Alpha if item delete

ลดการดื่มแอลกอฮอล์

1.7

1.2

0.05

0.07

0.8

ลดความเร็วในบางช่วงที่เห็นว่าเสี่ยงต่อความปลอดภัย

3.6

1.8

0.08

0.08

0.7

เกิดความระมัดระวังขณะขับขึ้นบ้าง

2.3

1.5

0.06

0.04

0.3

พักผ่อนมากขึ้น

3.1

1.1

0.05

0.06

0.5

อื่นๆ

0.9

1.2

0.07

0.02

0.3

ค่าสัมประสิทธิ์ความเชื่อถือได้ของมาตรวัด = 0.51

จากตารางสถิติข้างต้น จะเห็นว่าผู้ขับขี่ส่วนใหญ่ยังคงผลิตซ้ำความเสี่ยง มากกว่าผลิตซ้ำความปลอดภัย ซึ่งยังผลิตขึ้นน้อยด้วย