วิทยาการสาธารณภัย By ดร.วัฒกานต์ ลาภสาร

ด้วยเราไม่เคยถูกสอนให้สังเกตุวิกฤติการณ์ รวมทั้ง การสอนให้ติดตามรับรู้แรงกดดันเพื่อการเปลี่ยนแปลง สิ่งเหล่านี้มีความต้องการจำเป็นอย่างยิ่ง เพราะจากประวัติศาสตร์ทางธรณีวิทยาพบว่าโลกเรามีการสูญพันธ์ครั้งใหญ่ (mass extinction) มาแล้ว จำนวน 5 ครั้ง และทุกครั้งเกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และที่สำคัญการสูญพันธ์ครั้งต่อไป นักวิทยาศสาสตร์ทั่วโลกต่างเห็นพ้องกันว่าจะต่างจากทุดครั้งคือ ” 5 ครั้งที่ผ่านมาเกิดจากปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ แต่ครั้งที่ 6 น่าจะเกิดจากกิจกรรมของมนุษย์”https://www.thairath.co.th/scoop/1458016

และกิจกรรมใดที่ส่งผลต่อการสูญพันธ์ครั้งที่ 6

การศึกษาองผมจากกลุ่มตัวอย่าง 400 คน ในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ระหว่างตุลาคม 2561-สิงหาคม 2563 พบว่า

ปัจจัย

MEAN

MEDIAN

ลำดับความสำคัญ

1.การกิน

3.49

3

1

2.การเดินทาง

3.38

3

2

3.ที่อยู่อาศัย

2.82

3

3

4.การสร้างวัฒนธรรมของตน (นอกจาก 1-3)

2.79

3

4

ระดับนัยสำคัญ =0.5

1.การกิน

การกินของมนุษย์ก่อให้เกิดหายนะต่อภูมิอากาศมากที่สุด เพราะทำให้เราทำลายป่าไม้เพื่อเพราะปลูกพืชสำหรับกินสำหรับเลี้ยงสัตว์เป็นจำนวน  เราเลี้ยงสัตว์เป็นจำนวนมากที่ปล่อยก๊าซเรือนกระจกร้อยละ 51 จากทุกประเภทที่ปล่อย มากกว่ารถยนต์ เครื่องบิน อาคาร โรงงาน และอุตสาหกรรมทั้งหมดรวมกัน  เรามีอุตสาหกรรมที่ผลิตผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวกับการกินจำนวนมากล้นเกินความจำเป็น และเราก็เป็นโรคที่เกี่ยวข้องกับการกินล้นเกิน/เกินความจำเป้นเพิ่มขึ้นหลายเท่าตัวจากในอดีต

2.การเดินทาง

https://strathprints.strath.ac.uk/4105/6/strathprints004105.pdf

3.ที่อยู่อาศัย

http://uploads.habitat3.org/hb3/Habitat-III-Issue-Paper-21_Smart-Cities-2.0.pdf

4.การสร้างวัฒนธรรมที่นอกเหนือจากข้อ 1-3

https://curzonblob.blob.core.windows.net/media/5547/its-only-the-end-of-the-world-production-notes.pdf