จากการศึกษาจากคน 450 คน ในชุมชนที่ประสบอุทกภัย ภัยแล้งซ้ำซาก จำนวน 49 ชุมชนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ระหว่าง มกราคม 2562 – ตุลาคม 2563 พบลักษณะร่วมที่บ่งชี้ถึงการเป็นชุมชนเรียกร้อง (วอนต่อ) ภัยพิบัติ ดังนี้
1.ขาดทัศนคติ ที่จะออกแบบอยู่เสมอ ทำให้ขาดการประมวล คาดคะเนหรืคาดเดา
2.ขาดภาวะผู้นำที่จะคัดสรรและร้อยเรียง
3.ขาดความสัมพันธ์ที่ดี ที่เน้นการปรับเปลี่ยน/ยืดหยุ่น ทำให้ไม่สามารถแยก/ปรับประเภทได้
4.ขาดการรับรู้ประวัติศาสตร์ร่วมกัน
ตารางการศึกษาความคิดเห็นต่อลักษณะการวอนต่อภัยพิบัติ
ลักษณะวอนต่อภัยพิบัติ |
เห็นด้วย |
ความเป็นไปได้ที่จะแก้ไข |
||||||
Median |
Mode |
Mean |
S.D. |
Median |
Mode |
Mean |
S.D. |
|
ขาดทัศนคติ ที่จะออกแบบอยู่เสมอ |
5.00 |
5.00 |
4.21 |
1.45 |
3.12 |
3.00 |
3.14 |
0.67 |
ขาดภาวะผู้นำที่จะคัดสรรและร้อยเรียง |
3.21 |
3.54 |
3.32 |
1.35 |
4.01 |
4.00 |
3.78 |
0.84 |
ขาดความสัมพันธ์ที่ดี |
2.00 |
2.005 |
2.58 |
1.22 |
4.00 |
4.00 |
3.44 |
1.01 |
ขาดการรับรู้ประวัติศาสตร์ร่วมกัน |
2.01 |
2.00 |
2.31 |
0.98 |
3.10 |
2.54 |
2.65 |
0.74 |
———-xxxxxxxxxxxx————–