วิทยาการสาธารณภัย By ดร.วัฒกานต์ ลาภสาร

ท่ามกลางความไม่เที่ยงทั้งหลาย หากเพื่อบรรลุนิพพานต้องมีระลึกรู้เกิดดับเป็นพิ้นฐานสู่การละคลายความยึดมั่น ดังนั้น เพื่อความปลอดภัยจากภัยพิบัติต้องระลึกรู้ส่วนผสมอันลงตัวทั้งแบบหักล้างและแบบเสริมกันอยู่เสมอสำหรับเป็นกรอบการปฏิบัติหรือเป็นหลักการร่วมกันสำหรับยึดพิจารณาดำเนินการต่างๆ  ในการป้องกันภัยพิบัติ

ขอบเขตการระลึกรู้

1.สภาพบรรยากาศ(Ambient Conditions)

สภาพสิ่งต่างๆ รอบตัวทั้งประสาทสัมผัสทั้ง 5 ของเรารับรู้ได้ทั้งทางตรง และต้องมีเครื่องมือตรวจวัดตรวจจับให้เรา (สิ่งนี้เป็นสิ่งจำเป็นอย่างมากในอนาคต จำเป็นต้องสร้างต้องมีให้มากขึ้น)

2.การใช้งานหรือการจัดบรรยากาศ (Space/Function)

เป็นการจัด/การปรับ/การตกแต่งสภาพนิเวศให้บริการตัวเอง/องค์กร/หน่วยงาน/ชุมชนได้

3.ป้าย สัญลักษณ์ และสิ่งประดิษฐ์อื่น (Signs, Symbols, and Artifacts)

สร้างขึ้นเพื่อทำหนัาที่เป็นเครื่องมือสื่อสารที่ส่งสัญญาณท้งัทางตรงและทางออ้ มเพื่อบอก

3.การตอบสนองของบุคคล(Internal Responses)

ต้องให้ความสำคัญของสมาชิกในพื้นที่ต่อการตอบสนอง 3 ด้าน คือ

3.1 การตอบสนองทางความคิด

3.2 การตอบสนองทางด้านอารมณ์

3.3 การตอบสนองทางร่างกาย

เพื่อให้การระลึกครอบคลุมทั้ง 4 ขอบเขตดังกล่าวข้างต้น  หน่วยงาน องค์กร  ชุมชน  ครอบครัว หมู่บ้านชุมชน  ควรจะจะกำหนดคติพจน์สำหรับตัวเอง/หน่วยงาน/องค์กรขึ้น เพื่อให้มีนิสัยหรือเรียกการระลึกรู้ขึ้นมาได้ทันทีอย่างอัตโนมัติ

—————-xx—————