วิทยาการสาธารณภัย By ดร.วัฒกานต์ ลาภสาร

ผลการศึกษาประจำปี 2021 ซึ่งใช้ข้อมูลสะสม 20 ปี ตั้งแต่ปี 2000-2019 พบว่าประเทศไทยเรามีความเสี่ยงด้านภูมิอากาศโลกสูงเป็นอันดับ 9 ของโลก จากทั้งหมดประมาณ 180 ประเทศ https://thaipublica.org/2021/04/complex-world-prasart01/?fbclid=IwAR2fRiC4q0uy5OyY-dlsoi0M2BaBC4qxM3x22WNhZjQ3Gb-vU-VpaRYnZAQ

 

ตัวชี้วัดที่ใช้ในการคำนวณค่าความเสี่ยงด้านภูมิอากาศมี 4 ตัว คือ

(1) จำนวนผู้เสียชีวิตจากเหตุการณ์

(2) จำนวนผู้เสียชีวิตต่อประชากร 100,000 คน

(3) ความสูญเสียทางเศรษฐกิจ (คิดเป็นดอลล่าร์สหรัฐ เทียบกับราคาตามกำลังซื้อของแต่ละประเทศ (PPP) และ

(4) ความสูญเสียทางเศรษฐกิจคิดร้อยละของจีดีพี

คะแนนดัชนีความเสี่ยงด้านภูมิอากาศ (CRI) คำนวณจากสูตร (1/6)x(จำนวนผู้เสียชีวิตสูงเป็นอันดับที่ ของโลก) + (1/3)x(จำนวนผู้เสียชีวิตต่อประชากร 100,000 คนสูงเป็นอันดับที่เท่าไหร่ของโลก) + (1/6)x(อันดับที่ของความสูญเสียทางเศรษฐกิจ) + (1/6))x(อันดับที่ ความสูญเสียทางเศรษฐกิจคิดร้อยละของจีดีพี)

จากที่กล่าวมาข้างต้น หน่วยงานภาครัฐที่รับผิดชอบโดยตรงด้านหนึ่งคือบริษัท ปภ.จำกัด เพราะ

1.รวบรวมข้อมูลพิบัติภัยไม่มีมาตรฐาน ไม่มีความน่าเชื่อถือ

2,การประเมินความเสี่ยงยังจำกัดอยู่ในวงแคบๆ มุ่งที่จะเป็นม้าเร็วยุคศตวรรษที่ 20 มากกว่าที่จะเป็นภูมิรับรู้สภาพอากาศสุดขั้ว (extreme weather event)  ทำให้ส่งผลกระทบให้ไม่มีข้อมูลในการตัดสินใจป้องกันการเสียชีวิตของคนไทย

—xxxxxxxx———-

 

3.