วิทยาการสาธารณภัย By ดร.วัฒกานต์ ลาภสาร

อยากจะกล่าวไว้ว่า “คุณไม่มีทางเข้าใจสาธารณภัย ถ้าคุณไม่รู้ประวัติศาสตร์”เพราะเพื่อเข้าใจอดีต สำหรับอ่านปัจจุบัน และมองเห็นอนาคตของปรากฏการณ์หายนะ และให้ความหมายของประวัติศาสตร์สาธารณภัยไว้ว่าคือ “ขุดขององค์ประกอบที่ไม่พึงปราถนาที่ถูกแทนที่ด้วยขนาดองค์ประกอบ ด้วยเวลาและสถานที่”  สาธารณภัยไม่ได้ทำให้เราเห็นภาพของแนวโน้มการเกิดขึ้นขององค์ประกอบทีไม่พีงปราถนา

อีกทั้ง ความสูญเสียซ้ำๆ ถึงแม้จะเป็นหลักฐานยืนยันถึงพลังของสาธารณภัย ซึ่งน่าจะทำให้พวกเราเห็นถึงตื่นจากห้วงนิทราแห่งการยึดติดกับรูปแบบวัฒนธรรมเดิมๆ  ทันคติเดิมๆ เพื่อไปสู่ความเข้าใจในชุดขององค์ประกอบที่ไม่พีงปราถนาอันสลับซับซ้อนได้  แต่อนิจาที่กล่าวมาไม่ใช่ประวัติศาสตร์สาธารณภัยที่เราร่วมกันสร้างมาจนถึงปัจจบัน

หากจะแบ่งยุคประวัติศาสตร์สาธารณภัย โดยอาศัยหลักเกณฑ์การเปลี่ยนแปลงสำคัญของมนุษย์ 4 ประการ ได้แก่

1. วิทยาการเครื่องมือเครื่องใช้

2. ความเชื่อและมโนภาพ

3. ความสมดุลต่อการเจริญเติบโตของทุกสิ่งมีชีวิต

4. การพัฒนาการของสิ่งประดิษฐ์

ด้วยหลักเกณฑ์ 4 ประการ ข้างต้น เราจึงมียุคประวัติศาสตร์สาธารณภัยได้ 3 ยุค ดังนี้

1.ยุคชีวภาพรุ่งเรือง  เบ่งบานขยายอย่างเกื้อหนุน

2.ยุคความเชื่อสัมบูรณ์

3.ยุคปัญญารุ่งเรือง  ที่แม้กระแสกายภาพจะรุนแรงแค่ไหนก็ไร้สาธารณภัย จะไม่สามารถระคายเคืองอันใดต่อมนุษย์

แล้วปัจจุบันปี 2563 เราอยู่ในยุคไหน เรายังอยู่ในยุคแข่งขันสัมบูรณ์ครับ  กลั้นหายใจให้สามารถหายใจออกได้ที่ 50 ปีข้างหน้า เราก็ได้อยู่ในยุคปัญญารุ่งเรือง

—————–///////////——————–