ในช่วงเทศกาล ผู้ขับขี่หลายล้านคนได้เพิ่มประสบการณ์ในการขับขี่บนท้องถนนยาวนานขึ้น จากปกติที่ขับในระยะทางใกล้ๆ ซ้ำๆ ทุกวัน ทำให้เกิดการผลิตวัฒนธรรม ผลิตจิตสำนึกขึ้น บางคนอาจผ่านการรับรู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้ปลอดภัยมากขึ้น เรียกว่าผลิตซ้ำความปลอดภัยมากขึ้น บางคนก็ยังไม่มีการรับรู้ปรับเปลี่ยน ยังคงผลิตซ้ำความเสี่ยงบนท้องถนน
จากการศึกษาผู้ขับขี่ที่ผ่านเข้า-ออกกรุงเทพมหานคร จำนวน 480 คน ในช่วงเทศกาลปีใหม่ 2563 (27 ธันวาคม 562 – 2 มกราคม 2563) ณ จุดตรวจองค์การบริหารส่วนตำบลไทรใหญ่ อำเภอไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี บนทางหลวงสาย 340 มีรายละเอียด ดังนี้
ตารางสถิติพรรณาการผลิตซ้ำความเสี่ยงบนท้องถนนในช่วงเทศกาลปีใหม่ 2563
การผลิดซ้ำความเสี่ยง |
ค่าเฉลี่ย |
SD. |
ค่าความเบ้ |
ค่าความโด่ง |
Alpha if item delete |
ใช้ความเร็วสูง |
9.5 |
1.5 |
0.01 |
-0.04 |
0.7 |
ไม่ระมัดระวังทางร่วม/ทางแยก/ทางลักผ่าน |
5.6 |
1.1 |
0.04 |
0.07 |
0.4 |
ใช้โทรศัพท์ขณะขับ |
1.2 |
1.4 |
0.08 |
0.06 |
0.8 |
แซงไม่ปลอดภัย |
3.4 |
1.9 |
0.04 |
-0.09 |
0.6 |
ง่วงยังทนขับ |
2.2 |
1.4 |
0.06 |
0.05 |
0.4 |
อื่นๆ |
0.9 |
1.3 |
0.04 |
0.06 |
0.3 |
ค่าสัมประสิทธิ์ความเชื่อถือได้ของมาตรวัด = 0.53 |
ตารางสถิติพรรณาการผลิตซ้ำความปลอดภัยบนท้องถนนในช่วงเทศกาลปีใหม่ 2563
การผลิตซ้ำความปลอดภัย |
ค่าเฉลี่ย |
SD. |
ค่าความเบ้ |
ค่าความโด่ง |
Alpha if item delete |
ลดการดื่มแอลกอฮอล์ |
1.7 |
1.2 |
0.05 |
0.07 |
0.8 |
ลดความเร็วในบางช่วงที่เห็นว่าเสี่ยงต่อความปลอดภัย |
3.6 |
1.8 |
0.08 |
0.08 |
0.7 |
เกิดความระมัดระวังขณะขับขึ้นบ้าง |
2.3 |
1.5 |
0.06 |
0.04 |
0.3 |
พักผ่อนมากขึ้น |
3.1 |
1.1 |
0.05 |
0.06 |
0.5 |
อื่นๆ |
0.9 |
1.2 |
0.07 |
0.02 |
0.3 |
ค่าสัมประสิทธิ์ความเชื่อถือได้ของมาตรวัด = 0.51 |
จากตารางสถิติข้างต้น จะเห็นว่าผู้ขับขี่ส่วนใหญ่ยังคงผลิตซ้ำความเสี่ยง มากกว่าผลิตซ้ำความปลอดภัย ซึ่งยังผลิตขึ้นน้อยด้วย