วิทยาการสาธารณภัย By ดร.วัฒกานต์ ลาภสาร

https://fb.watch/7ztCV2s7lL/

ข้อผิดพลาดในการสื่อสารในยามวิกฤตหรือยามเผชิญสาธารณภัย แม้จำนวนการสื่อสาร  จำนวนช่องทางการสื่อสาร ยี่งมากยิ่งเป็นประโยชน์  แต่ก็ต้องมีหลักเกณฑ์ที่ดี เพื่อให้เป็นประโยชน์อย่างแท้จริง ดังนี้

1. เมื่อรู้ตัวว่าตนเองสื่อสารผิดพลาด  ไม่ตรงข้อเท็จจริง  หรือมีการเปลี่ยนแปลงข้อเท็จจริงไปแล้วทำให้มีข้อเท็จจริงใหม่  ต้องไม่เพียงลบการสื่อสารของตนในช่องทางสื่อสารของตนเพียงเท่านั้น  https://ch3plus.com/news/program/254543 จะต้องมีการชี้แจงเหตุผลประกอบการลบข้อความหรือเปลี่ยนข้อความสื่อสารนั้นด้วย

2. ไม่สื่อสารโดยมีจุดมุ่งหมายที่จะทำให้เกิดภาพลักษณ์ที่ดีแก่ตนหรือแก่องค์กรของตน ในยามเผชิญสาธารณภัยองค์การหรือนิติบุคคลจะไม่สามารถควบคุมอะไรได้แน่นอนตามที่กำหนดหรือตามแผนของตน   หากสื่อสารโดยมีจุดมุ่งหมายดังกล่าวข้างต้น  จะทำให้เกิดคำถาม เกิดข้อสงสัย เกิดความสับสน ฯลฯ https://m.facebook.com/prdofficial/posts/4673005166045130 การสื่อสารไม่สามารถเปลี่ยนขี้เป็นทองคำได้ ทำผิดพลาดบกพร่องแล้วจะมาใช้การสื่อสารเพื่อบิดเบือน ไม่ทำให้คนยอมรับได้ https://fb.watch/7ArHyKP60l/

3. ข้อความที่สื่อสาร  ควรแยกกล่าวให้ชัดเจนว่า  เป็นข้อเท็จจริง  เป็นข้อคิดเห็น เป็นข้อความที่ได้ฟังต่อมาเป็นทอด  หลีกเลี่ยงการกล่าวเงื่อนไขที่จะบังคับ  การว่าร้ายใส่ความกัน   เรื่องนี้ต้องฟังกูรูจอมแถของสลิ่มกล่าวไว้ https://www.thaipost.net/main/detail/113136

 

xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx