การบริหารจัดการสาธารณภัยของไทยในปัจจุบัน มุ่งเน้นไปที่การสื่อสารในภาวะวิกฤต (Crisis communication) ซึ่งถือว่าถูกบังคับให้ดำเนินการในภาวะที่องค์กรหรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกำลังเผชิญภัยคุกคามหรือกำลังจะเผชฺิญภัยคุกคาม ละเลยการสื่อสารความเสี่ยงภัยพิบัติ
ซึ่งการสื่อสารความเสี่ยงภัยพิบัติ คือ กระบวนการให้รับรู้ แสดงความคิดเห็นเพื่อให้มีการเตรียมความพร้อมสำหรับเหตุการณ์ที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต จากที่กล่าวมาข้างต้น จะสามารถแยกแยะความแตกต่าง ได้ดังนี้
1.การสื่อสารความเสี่ยง
1.1.มีระบบปฏิสัมพันธ์ที่ยาวนานและต่อเนื่อง
1.2.ส่วนใหญ่เป็นการสื่อสาร 2 ทาง
1.3.ต้องมีข้อตกลงเกิดขึ้นว่าจะดำเนินการอย่างไร
2.ส่วนใหญ่เป็นการสื่อสารทางเดียวการสื่อสารในภาวะวิกฤต
2.1.เป็นกระบวนการที่พยามส่งสารในระยะ ๆ ให้มีประสิทธิภาพสูงสุด
2.2.ต้องมีเรื่อง/ประเด็นความปลอดภัยของผู้รับสาร
ข้อเสนอแนะ
หยุดวัฒนธรรมผักชีโรยหน้า/ หันมาเน้นการสื่อสารความเสี่ยง
——————————————————-888888888888——————————————————-