วิทยาการสาธารณภัย By ดร.วัฒกานต์ ลาภสาร

ตรรกะของคนไทยที่เป็นอุปสรรคในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

ตรรกะ (Ethics) เป็นหลักการและกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินชีวิตและการกระทำของบุคคล โดยมุ่งเน้นความถูกต้องและความเหมาะสมในการกระทำ เพื่อสร้างความเชื่อมั่นและความน่าเชื่อถือในสังคม

ในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ตรรกะเป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยสนับสนุนประสิทธิภาพในการดำเนินงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยของหน่วยงานภาครัฐ แต่คนไทยมักจะมีตรรกะที่เป็นอุปสรรค ตัวอย่างเช่น

  1. ไม่นิยมความโปร่งใสและความเป็นธรรม : ข้อมูลที่เผยแพร่ในสังคมมักใช้ตอบสนองการกลบเกลื่อนความด้อย ลบปมด้อย และการตัดสินใจที่เป็นธรรม
  2. ขาดความรับผิดชอบ : เออออห่อหมกเหม็ดกับผู้ดำเนินงานของรัฐหากตนเองได้ประโยชน์  ไม่คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวม
  3. ไม่นิยมความเชื่อถือได้ของภาครัฐ : ไม่ต้องการความเชื่อถือได้ ขอให้พูดตกลงทำความเข้าใจกับตนเองและพรรคพวกชุมชนตนเองได้เป็นพอ เจ้าหน้าที่ต้องยอมละเว้นระเบียบกฎเกณฑ์ในการดำเนินงาน
  4. ขาดความร่วมมือในการมีส่วนร่วมวาดภาพอนาคตหรือสร้างอนาคตที่ดี : แต่ยินดีร่วมมือในการรับการสงเคราะห์  รับการช่วยเหลือ

Proudly powered by WordPress