วิทยาการสาธารณภัย By ดร.วัฒกานต์ ลาภสาร

การแก้ปัญหาน้ำท่วมแบบไม่รู้เนื้อรู้ตัว

วิเคราะห๋น้ำท่วมปี 64 เทียบกับปี 54

ปี 64 ท่วมจากน้ำหลากจากพื้นที่ที่มีฝริมาณฝนตกมาก ส่วนปี 54 นอกจากจะมีมวลน้ำหลากจากพื้นที่ที่มีฝริมาณฝนตกมากแล้ว ยังมีมวลน้ำจากแหล่งกักเก็บน้ำน้ำที่ปลอยออกมาเนื่องจากเกินปริมาณกักเก็บ ทำให้น้ำหลากจากพื้นที่ไหลลงแม่นำ้ได้ช้ามาก เพราะมีน้ำจากแหล่งกักเก็บน้ำ (อ่าง+ฝาย) ครองพื้นที่แม่น้ำลำคลองอยู่แล้ว ทำให้หลากท่วมลงมาตลอดที่ราบลุ่ม

ค่านิยมร่วมกันในการรับมือนำ้ท่วม

ให้รีบผ่านไปแบบแผ่กว้าง ไม่ค้าง ไม่รอระบายลงพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งพื้นที่ใด  ไม่ควรสกัดกั้น  ต้องเสริมให้ไหลไหลเร็วที่สุด

การกระทุ้งรัฐราชการปรสิต

1.ให้เร่งขุดร่องแม่น้ำให้ลึก ตลอดสาย ไม่ควรจะให้เสริมคันแม่น้ำแบบถาวรเหมือนที่ทำอยู่ในปัจจุบัน

2. สูบน้ำในบางจุดที่จะช่วยเร่งความเร็วน้ำให้ลงแม่น้ำในหลายๆ จุด

3 สูบน้ำให้ทิศทางน้ำแผ่กว้างไปในหลายๆ พื้นที่แบบมาเร็วไปเร็ว อย่าให้ทำคลองระบายหรือระบายนำ้เข้าพื้นที่ทำเป็นแก้มลิงในบริวณทีอยู่ในแนวน้ำไหลพวกเราชาวบ้านซวยโดยไม่ได้ช่วยชาวบ้านพื้นที่อื่นมากนัก)

4.เพิ่ม/ปรับปรุงทำช่องเปิดถนนในพื้นที่ที่นำ้ไหลผ่านให้น้ำไหลแบบแผ่กว้างมากขึ้น

———xxxxxxxxxx—————–

Proudly powered by WordPress